พลังเพลินร่วมใจฟื้นฟูผู้ประสบภัยน้ำท่วม
คนคนเดียวทำเรื่องแบบนี้ไม่ได้แน่นอน..เมื่อเราผนึกกำลังกัน งานใหญ่แค่ไหน เราก็จะผ่านไปได้
คนคนเดียวทำเรื่องแบบนี้ไม่ได้แน่นอน..เมื่อเราผนึกกำลังกัน งานใหญ่แค่ไหน เราก็จะผ่านไปได้
ตั้งใจเข้ามาช่วยงานโรงเรียน เพราะเชื่อว่าเราคือสิ่งแวดล้อมของกันและกัน และเพราะเด็กคนหนึ่งต้องใช้คนทั้งหมู่บ้านช่วยกันเลี้ยงดู (It takes a village to raise a child.)
โฮมรูมสร้างสรรค์ ปลูกฝังความเห็นอกเห็นใจผ่านกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับสถานการณ์น้ำท่วม
วันที่ 9 พฤษภาคม 2546 เป็นวันทึ่วางอิฐก้อนแรก จากวันนั้นได้กลายเป็นความเจริญก้าวหน้า ดังที่หลวงพ่อปัญญาได้มอบไว้ว่า "รากฐานของตึกคืออิฐ รากฐานของชีวิตคือศีลธรรม"
เปิดการเรียนรู้ จากผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญและผู้ก่อตั้ง โรงเรียนเพลินพัฒนา อ. ธิดา พิทักษ์สินสุข ที่นำพาให้รู้ถึงเจตนารมณ์ ความสำคัญของสัญลักษณ์ 9 พอดี
พ่อแม่อยากให้ลูกมีความสุข เลยให้ความรัก การดูแลเอาใจใส่ แต่บางครั้งก็ให้มากจนเกินไป เด็กกลายเป็นผู้รับเพียงฝ่ายเดียว ให้แม้กระทั่งความคิด (คิดแทน ทำแทน) ตลอดเส้นทางเต็มไปด้วยการช่วยเหลือ
โรงเรียนเพลินพัฒนาให้การต้อนรับคณะผู้บริหารและคุณครูจากโรงเรียนสมาคมไทย-ญี่ปุ่นกว่า 180 คน เข้าเยี่ยมชมบรรยากาศของโรงเรียน และร่วมสังเกตการณ์การเรียนการสอนในช่วงชั้นประถม และมัธยมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2567
จากโจทย์ "ห้องเรียนพ่อแม่" Family field trip ของช่วงชั้นที่ 2 ชวนเปิดโลกให้ลูกรู้ เพื่อสร้างประสบการณ์ที่หลากหลาย
ขอเชิญร่วมงานเปิดบ้านมัธยม โรงเรียนเพลินพัฒนา วันที่ 21 สิงหาคม 2567 เวลา 09.00 - 12.00 น. ณ ห้องประชุมเพลินพัฒนา อาคารมัธยม
มอนสเตอร์ในความคิดของเด็ก ๆ และผู้ใหญ่ต่างกันอย่างไร หาคำตอบร่วมกันผ่านกิจกรรม monsters in the library ของน้องอนุบาล และ กิจกรรม Emotional Monsters Workshop สำหรับผู้ปกครอง
ภาคเรียนนี้พวกเราได้ไปบ้านขุนสมุทรจีน จ.สมุทรปราการ เพื่อไปเก็บข้อมูลมาทำสมมติฐานที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการกัดเซาะและการงอกของชายฝั่ง
เสียงดนตรีไทยบรรเลงขับขานจากการรวมวงของคุณครูช่วยสร้างบรรยากาศยามเช้าของวันที่ 27 มิถุนายนเป็น “พิธีไหว้ครู” ของน้องเล็กอนุบาล