เปิดหมวก #1 มหกรรมดนตรีและศิลปะ2567
เปิดหมวก #1 มหกรรมดนตรีและศิลปะ2567เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมา ณ ลานเล่น โรงเรียนเพลินพัฒนา “IN OUR DREAM” ของนักเรียนชั้น 9
ด.ญ. ภาวิตา พูลไชย (เอม) ช.6/2
ด.ญ. ภาวิดา พูลไชย (ออม) ช.6/4
ด.ญ. พิชญาดา ชลไพรพิมลรัตน์ (หนูแพง) ช.6/3
ด.ญ. อาธัญญา ใจภักดีมั่น (แก้ม) ช.9/2
ด.ญ. อันนา พลเสน (เฑียร) ช.9/2
ด.ญ. พิชญานันท์ ชลไพรพิมลรัตน์ (เพียง) ช.7/3
จากความเพียรตั้งใจส่งผลให้ทำผลงานได้อย่างยอดเยี่ยม ล่าสุดทั้ง 4 คนได้เข้าร่วมการแข่งขันศิลปะการเต้นระดับประเทศ 7th CSTD Thailand Dance Grand Prix 2020 ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2563 ซึ่งได้จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 10 – 13 กันยายน 2563 ณ โรงละครอักษรา คิงเพาเวอร์
โดยในปีนี้มีนักเต้นเยาวชนและระดับมืออาชีพร่วมประชันความสามารถบนเวทีมากถึง 21 สถาบันจากทั่วภูมิภาคของประเทศ เยาวชนเข้าแข่งขันถึง 1,396 คน และมีการแข่งขันมากถึง 736 ชุดการแสดง ซึ่งทั้ง 4 คนได้รับรางวัลในรายการต่างๆ ต่อไปนี้
ด.ญ. ภาวิตา พูลไชย (เอม) ช.6/2
ด.ญ. ภาวิดา พูลไชย (ออม) ช.6/4
ด.ญ. ภาวิตา พูลไชย (เอม) ช.6/2
ด.ญ. ภาวิดา พูลไชย (ออม) ช.6/4
ด.ญ. พิชญาดา ชลไพรพิมลรัตน์ (หนูแพง) ช.6/3
ด.ญ. ภาวิตา พูลไชย (เอม) ช.6/2
ด.ญ. ภาวิดา พูลไชย (ออม) ช.6/4
ด.ญ. ภาวิตา พูลไชย (เอม) ช.6/2
ด.ญ. ภาวิดา พูลไชย (ออม) ช.6/4
ด.ญ. ภาวิตา พูลไชย (เอม) ช.6/2
ด.ญ. ภาวิดา พูลไชย (ออม) ช.6/4
ด.ญ. อาธัญญา ใจภักดีมั่น (แก้ม) ช.9/2
ด.ญ. อาธัญญา ใจภักดีมั่น (แก้ม) ช.9/2
ด.ญ. อันนา พลเสน (เฑียร) ช. 9/2
2 ด.ญ. พิชญานันท์ ชลไพรพิมลรัตน์ (เพียง) ช.7/3
ขอแสดงความยินดีและชื่นชม “เอม ออม หนูแพง และแก้ม” ในความทุ่มเทฝึกซ้อม ตั้งใจทำอย่างเต็มที่ และขอชื่นชมครอบครัวที่ช่วยสนับสนุนทุกก้าวย่างของเด็กๆ ให้ได้ทำในสิ่งที่ชอบและสนใจอย่างเต็มศักยภาพ ขอเป็นกำลังใจให้นักเต้นเยาวชนของเราในเวทีระดับนานาชาติ ณ ประเทศสิงคโปร์ต่อไปด้วยนะคะ
สถาบัน The Commonwealth Society of Teachers of Dancing หรือ CSTD ประเทศไทย ร่วมกับกระทรวงวัฒนธรรม, สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย และสถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทย และสถาบัน CSTD ประเทศออสเตรเลีย จัดการแข่งขันศิลปะการเต้นระดับประเทศ เพื่อเฟ้นหาสุดยอดนักเต้นเยาวชนตัวแทนประเทศไทยไปแข่งขันในเวทีระดับนานาชาติ ณ ประเทศสิงคโปร์
การแสดงโดยรูปแบบการแข่งขันเปิดให้แข่งขันตั้งแต่รุ่นอายุต่ำกว่า 5 ปี จนถึงระดับอาชีพ และมีการแข่งขันการเต้นหลากหลายรูปแบบ ทั้ง Classical Ballet (บัลเลต์คลาสสิค), Lyrical Ballet (บัลเลต์ตามอารมณ์เพลง), Demi-Character (นำเสนอเรื่องราวผ่านการเต้น), Modern Jazz Dance (แจ๊สแดนซ์), Contemporary Dance (เต้นร่วมสมัย), Hip-Hop (ฮิปฮอป), National Dance (ระบำประจำชาติ), Song & Dance (ร้องและเต้น), Ballet Repertoire (อุปรากรบัลเลต์), Improvisation (คิดท่าสดบนเวที) เป็นต้น โดยการแข่งขันในครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อเฟ้นหาสุดยอดนักเต้นเยาวชนตัวแทนประเทศ ให้มีโอกาสก้าวสู่การแข่งขันในเวทีระดับนานาชาติ ร่วมกับอีก10 ประเทศ ในการแข่งขันการเต้นบนเวทีที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย-แปดซิฟิกใน Asia-Pacific Dance Competition ครั้งที่ 22 ณ ประเทศสิงคโปร์ ในปี 2564”
โดย ส่วนสื่อสารองค์กร
ข้อมูล ณ วันที่ 22 กันยายน 2563